24 สิงหาคม 2551

สุดยอด 7 ความเข้าใจผิดทางการแพทย์

คนเรามักมีความเชื่อที่ถูกสอนกันมาเกี่ยวกับสุขภาพซึ่งบางครั้งเป็นความเชื่อที่ผิดๆ ดังนั้นวันนี้เราจะมาดูกันว่า 7 สุดยอดความเชื่อที่ผิดทางการแพทย์มีอะไรบ้าง จากวารสารวิชาการ British Medical Journal และ American Journal of Psychology ซึ่งมีผู้วิจัยคือ ผศ.ดร Aaron Carroll หมอทันตกรรมเด็กจากสถาบัน Regenstrief ที่ Indianapolis และ Rachel Vreeman นักวิจัยใน children’s health services research ที่ Indiana University School of Medicine ได้จัดอันดับความเชื่อที่ผิดทางการแพทย์ออกมาดังนี้

อันดับ 1 อ่านหนังสือในที่มืดทำให้สายตาเสีย ผู้เชี่ยวชาญทางสายตากล่าวว่า การอ่านหนังสื่อในที่ที่มีแสงไม่เพียงพอจะไม่ทำให้สายตาเสียแต่จะทำให้คุณต้องหรี่ตาลง กระพริบตาเพิ่มขึ้น และมีปัญหาในการหาจุดโฟกัส

อันดับ 2 การโกนขนไม่ทำให้ขนงอกเร็วขึ้นหรือแข็งกระด้างขึ้น การโกนขึ้นไม่มีผลต่อความแข็ง หนา ของเส้นขนและไม่ทำให้อัตราการงอกของขนเพิ่มเร็วขึ้น แต่ขนที่พึ่งงอกมันยังขาดสารเคลือบ ทำให้เรารู้สึกไปว่ามันแข็งและหยาบขึ้น

อันดับ 3 ทานไก่งวงแลัวจะง่วงนอน (อันนี้เหมือนบ้านเราที่ทานข้าวเหนียวแล้วง่วงรึเปล่านะ) กรดอะมิโนตัวการที่สำคัญที่ทำให้รู้สึกง่วงนอนคือ ทริปโตเฟน (Tryptophan) แต่ไก่งวงไม่ได้มีกรดอะมิโนตัวนี้มากไปกว่าไก่หรือเนื้อวัว ซึ่งตัวการที่สำคัญที่ทำให้รู้สึกง่วงนอนก็คือการดื่มและทานอาหารมากไปในวันคริสต์มาส

อันดับ 4 เราใช้ 10% ของสมองในการทำงาน ความเชื่อนี้เกิดขึ้นในปี 1907 แต่ปัจจุบันการแสกนสมองเผยให้เห็นว่าไม่มีส่วนไหนในสมองที่มีการหลับหรือไม่ทำงานเลย

อันดับ 5 เล็บและผมสามารถยาวได้หลังจากตายไปแล้ว เรื่องนี้ได้ความคิดมาจากนิยาย ghoulish ซึ่งนักวิจัยระบุว่าหลังจากตายไปแล้ว ผิวจะแห้งและหดกลับ ทำให้มองดูเหมือนผมและเล็บจะยาวขึ้น

อันดับ 6 โทรศัพท์มือถือเป็นอันตรายในโรงพยาบาล ความเชื่อนี้แพร่หลายมาก แต่จากการวิจัยพบว่าโทรศัพท์มือถือรบกวนอุปกรณ์ทางการแพทย์น้อยมาก

อันดับ 7 การดื่มน้ำวันละ 8 แก้วทำให้สุขภาพดี ไม่มีผลการวิจัยไหนที่ระบุหรือสนับสนุนความ

credit : exocist

16 สิงหาคม 2551

Karabane

Karabane, également appelé Carabane, est à la fois une île et un village situés à l'extrême sud-ouest du Sénégal, dans l'embouchure du fleuve Casamance. Site paradisiaque, doté d'un climat agréable et d'une luxuriante végétation, c'est aussi du point de vue historique le premier comptoir colonial français en Casamance. Dans un environnement maritime et fluvial propice à l'exploitation halieutique, l'île vit pourtant au rythme du calendrier rizicole, car les Diolas, majoritaires à Karabane, sont avant tout des terriens : on a pu parler de véritable « civilisation du riz » en Basse-Casamance. En complément – tant alimentaire qu'économique –, ils pratiquent aussi la pêche artisanale et la collecte de crustacés, mais les pêcheurs professionnels viennent surtout d'autres régions.
Associant d'indéniables atouts naturels et culturels, l'île aurait pu devenir une sorte de « Gorée de la Casamance », mais de multiples difficultés ont jusqu'ici freiné cette ambition. Karabane n'a pas rallié le réseau prometteur des campements villageois – nouvelle forme de tourisme rural intégré – aménagés dans la région au cours des années 1970. Les troubles politiques qui ont meurtri la Casamance au cours des décennies suivantes ont porté un coup sévère à un tourisme en plein développement. Enfin, en 2002, le naufrage du Joola, qui assurait la liaison Dakar-Ziguinchor en faisant escale à Karabane, a scellé l'enclavement de l'île pour plusieurs années. En 2008, dans l'attente de nouvelles infrastructures, travailleurs, étudiants et touristes ne peuvent plus compter que sur les pirogues pour quitter ou rejoindre le village.
vocab
comptoir = พูดแย้ง
colonial = เกี่ยวกับอาณานิคม
pêche = ปลา
meurtri = ทำให้เสียหาย
infrastructure = โครงสร้างพื้นฐาน,การให้บริการสาธารณะ