29 กุมภาพันธ์ 2551

หัวใจภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสอบ A - NET

Le présent แสดงว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นในปัจจุบัน

สามารถแบ่งคำกริยาได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

1. คำกริยากลุ่มที่ 1 (les verbes au ler grou)

ได้แก่คำกริยาที่ลงท้ายด้วย _____ er

รูปแบบ ให้ตัด er ทิ้ง แล้วเติมส่วนท้ายดังต่อไปนี้

Je__________ e Nous________ o­ns

Tu_________ es Vous________ ez

Ils/Elles_____ e Ill/Elles______ ent



Ex. v.travailler

Je travaille Nous travaillons

Tu travailles Vous travaillez

Il/Elle travalle Ils/Elles travaillent



2. กริยากลุ่มที่ 2 (les verbes au 2 eme groupe)

ได้แก่กริยาที่ลงท้ายด้วย _____ ir

รูปแบบ ให้ตัด ir ทิ้ง แล้วเติมส่วนท้ายดังต่อไปนี้

Je_________ is Nous_________ issons

Tu________ is Vous_________ issez

Il/Elle_____ it Ill/Elles_______ issent



Ex. v. Punir



Je punis Nous punissons

Tu punis Vous punissez

Ill/Elle punit Ils/Elles punissent



3. คำกริยากลุ่มที่ 3 (les verbes au 3 eme groupe)

เป็นกลุ่มที่ไม่มีกฎกระจายตามตัว ดังนั้นผู้เรียนต้องท่องจำทีละนิดจนให้เกิดความชำนาญ กลุ่มนี้มักจะลงท้ายด้วย _____ re, _____ ir, _____ dre, etc.



Ex. v. prender

Je prend Nous prenons

Tu prends Vous prenez

Ill / Elle prend Ils / Elles prennent



v. lire



Je lis Nous lisons

Tu lis Vous lisez

Il/Elle lis Ils/Elles lisent



v. sortir



Je sors Nous sortons

Tu sors Vous sortez

Il/Elle sort Ils/Elles sortent



Les temps dubpassé กาลบอกอดีต

Le passé récent แสดงเหตุการณ์ในอดีตที่เพิ่งจะจบ โดยมีระยะเวลาไม่นาน (มักจะไม่เกิน 1 วัน)

รูปแบบ กระจาย v.venir ใน le present + de inf = เพิ่งจะ

Ex. Ju viens travailler

Tu viens travailler

Il / Elle vient de travailler tout a l’heure

Nous venons travailler

Vous venez travailler



คำบอกเวลา tout à l’heure เมื่อตะกี้นี้

it y a un instant เมื่อสักครู่ที่ผ่านมานี้

it y a 20 monutes/ uns heure. 20 นาที/1 ชั่วโมงที่ผ่านมา



Le passé composé ใช้แสดงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต (มักจะกินระยะเวลาเกิน 1 วัน) และเสร็จสิ้นทันที

รูปแบบ ผัน v.avoir/être ใน le présent + participle passé (p.p)



Ex. J’ai lu ta letter (v.lire)

Nous avons pris un bain. (v.prendre)



** หมายเหตุ

1. กริยาที่ใช้ v.avoir เป็นกริยาช่วย p.p ไม่ต้อง accord

2. กริยาที่มี se นำหน้า และกริยาที่แสดงการเคลื่อนไหวที่ใช้กับ être เช่น aller, venir, sortir, monter, descendre, passer, partir, arriver, tomber, entrer, rentrer, revenir, devenir, rester, naître, mourir, etc. ต้อง accord กับประธาน

Ex. Elle est sortie de l’ école depuis midi.



วิธีการทำ p.p.

1. ตัด er เติม é manger » mangé

2. ลงท้ายด้วย ir ให้ตัด r ออก finir » fini

dormer » dormi

3. อื่นๆ

mettre » mis attendre » attendu

comprendre » compris voir » vu

plaire » plu avoir » eu

mourir » mort faire » fait

prendre » pris descendre » descendu

répondre » répondu batter » battu

dire » dit écrire » écrit

conduire » conduit cuire » cuit



L’imparfait

รูปแบบ กระจายกริยาใน présent ของประธาน nous แล้วตัด ons เติมส่วนท้ายดังนี้

Je______ ais Nous_______ ions

Tu_____ ais Vous_______ iez

Il/Elle___ ait Ils/Elles_____aient



การใช้

1. ใช้บรรยายสหภาพ ลักษณะ และนิสัยในอดีต

Hier, il faisait beau. เมื่อวานอากาศดี

Quand j’étais petit, j’habitais en ville. เมื่อฉันยังเด็ก ฉันอาศัยอยู่ในเมือง

Autrefois, Paris s’appelait Lutèce. ในสมัยก่อนปารีสมีชื่อว่า ลูแตส

2. แสดง 2 เหตุการณ์ในอดีต เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และกำลังดำเนินอยู่ในอดีตใช้ l’imparfait ส่วนเหตุการณ์ที่เกิดแทรก แล้วจบใช้ le passé composé

Lorsque nous regardions la télévision, quelqu’ un a sonné.

ขณะที่เรากำลังดูทีวีอยู่ มีใครบางคนมากดกริ่ง

3. แสดงการชักชวน (ไม่เกี่ยวกับเรื่องอดีต)

Si o­n allait au cinéma?

Si nous allions au cinéma? เราไปดูหนังกันไหม



Le plus-que-parfait (p.q.p.)

รูปแบบ กระจาย v.avoir/être ใน 1’imparfait + p.p.

v.avoir v.être



J’avais + p.p. J’étais + p.p. (e)

Tu avais Tu étais (e)

Il/Elle avait Il était

Nous avions Elle etait (e)

Vous avions Nous étions (s,es)

Il/Elles avaient Vous étiez (s,es,e)

Ils étaient (s)

Elles étaient (es)

การใช้ ใช้ในกรณี เกิดก่อน และ เกิดหลังในอดีต

เกิดก่อน le plus-que-parfait

เกิดหลัง le passé compose บอก เกิดแล้วจบทันที

l’imparfait บอกสภาพ นิสัยในอดีต หรือมีระยะเวลามาเกี่ยวข้อง

Ex. Quand les pompiers sont arrivés, la maison avait brule.

เมื่อนักดับเพลิงเดินทางมาถึง บ้านก็ถูกเผาวอดวายไปเรียบร้อยแล้ว

Comme il avait neigé toute la journée, les champs étaient tout blancs.

เนื่องจากหิมะตกตลอดวัน ท้องทุ่งนาจึงขาวไปหมด (บรรยายสภาพทุ่งนาหลังหิมะตก)



Les temps du futur กาลบอกอนาคต

1. Le future proche ใช้แสดงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้

รูปแบบ กระจาย v.aller ใน le présent + inf

Je vais manger.

Tu vas manger.

Il/Elle va manger.

Nous allons manger.

Vous allez manger.

Ils/Elles vont manger.



คำบอกเวลา

tout à l’heure อีกประเดี๋ยว

tout de suite ทันทีทันใด

dans 10 minutes/ une heure อีก10 นาที/ 1 ชั่วโมงข้างหน้า



Le future simple

ใช้บอกเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (มักจะเกิน 1 วัน) มักจะมีคำบอกเวลาดังต่อไปนี้ demain, bientot, l’année prochaine, la semaine prochaine, dans 5 jours, dans uns semaine

* ข้อสังเกต dans + เวลา แสดงเวลาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

il y a + เวลา แสดงเวลาที่เกิดไปแล้วในอดีต









วิธีการผันกริยา

นำ inf มาเติมที่ส่วนท้ายของ v.avoir ใน présent

Je____ ai Nous______ o­ns

Tu____ as Vous______ ez

Il_____ a Il/Elles____ ont



Ex Je finirai mon cours dans 2 heures. ฉันจะเรียนเสร็จอีก 2 ชั่วโมง

Vous prendrez votre voiture? คุณจะขับ / ใช้ รถของคุณไหม



** หมายเหตุ

1. กริยากลุ่ม 3 ที่ลงท้ายด้วย _re ตัด e ก่อนแล้วจึงเติมส่วนท้าย

Ex. Je comprendrai (v.comprendre)

2. กริยาต่อไปนี้เป้นพวกยกเว้น ต้องเปลี่ยนรูป

v.être » Je serai

v.avoir » J’aurai

v.aller » J’irai

v.faire » Je ferai

v.vouloir » Je voudrai

v.pouvoir » Je pourrai

v.courir » Je courrai

v.devoir » Je devrai

v.pleuvoir » Il pleuvra

v.venir » Je viendrai

v.savoir » Je saurai

v.falloir » Il faudra

v.voir » Je verrai

v.envoyer » J’enverrai

v.recevoir » Je recevrai



Le future anterieur

รูปแบบ กระจาย v.avoir/etre ในle future simple + p.p.

v.avoir

J’aurai

Tu auras

Il/Elle aura + p.p.

Nous aurons

Vous aurez

Ils/Elles auront



v.être

Je serai (e)

Tu seras (e)

Il sera

Elle sera + p.p. (e)

Nous serons (s,es)

Vous serez (s,es,e)

Ils seront (s)

Elles seront (es)

การใช้

1. บอกเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

อนาคตที่เกิดก่อนแล้วจบใช้ le future anterieur

ส่วนอนาคตที่เกิดตามมาทีหลังใช้ le future simple

Ex. Après que nous aurons fini nos cours, nos irons au cirque.

หลังจากที่เราเรียนเสร็จ เราจะไปโรงละครสัตว์กัน (ทั้ง 2 เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคต)

Quand tu auras fini ton travail, tu pourras jouer.

เมื่อคุณทำงานเสร็จ คุณก็จะสมารถเล่นได้

2. เป็นการมองเหตุการณ์นั้นว่าจะเสร็จสมบรูณ์ในอนาคต โดยมีจุดบอกเวลาที่เจาะจง

Ex. Demain,

Dans 3 jours, à cette heure-ci, elle sera arrivée à Paris.

En 2006, (ในช่วงเวลานี้ = เจาะจงเวลาในอนาคตว่าจะต้องเสร็จ)

พรุ่งนี้

อีก 3 วัน ในช่วงเวลานี้ เธอจะมาถึงที่กรุงปารีสเป็นที่เรียบร้อยแล้วใน

ปี 2006

** บางครั้งน้องๆ อาจจะเห็นว่า le future antérieur สามารถใช้คู่กับ l’impératif (ประโยคคำสั่ง) ได้เช่นกัน

Ex Quand tu auras lit le journal, passe-le-moi.

เมื่อคุณอ่านหนังหนังสือพิมพ์เสร็จ จงส่งมันมาให้ฉัน

จะเห็นได้ว่า ประโยคแรกเป็น le future antérieur เพื่อบอกอนาคตที่เสร็จสมบูรณ์ว่า เมื่อคุณอ่านหนังสือพิมพ์เสร็จ (จะเสร็จในอนาคต) ส่วน l’impératif จะแสดงให้เห็นว่า เป็นประโยคคำสั่งที่มีความหมายเป็นอนาคตที่เกิดหลังประโยค “เมื่อคุณอ่านหนังสือพิมพ์เสร็จ” นั่นเอง

credit : sukchai

18 กุมภาพันธ์ 2551

เรื่องดีๆมีอยู่ทั่วโลก

เมื่อปี 2001
มีคนเข้าชมพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ 5.6 ล้านคน ปี 2006 มีคนเข้าไปดูสูงสุดถึง 8.3 ล้าน ทำให้ลูฟร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีคนเข้าชมมากที่สุดในโลก ลูฟร์กำลังช่วยอาหรับเอมิเรตส์ สร้างพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ อาบู ดาบี อยากให้มีลูฟร์บางกอกบ้างจริง

ที่เมืองอาเมียงส์
ประเทศฝรั่งเศสกำลังสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเอาไว้สำหรับรีไซเคิลขยะจากครัวเรือนด้วยการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายในภาวะไร้ออกซิเจน ทำให้จะสามารถกำจัดขยะได้ 100000 ตัน โดยจะส่งก๊าซมีเธนไปเป็นเชื้อเพลิงในโรงงานใกล้ ๆ และนำส่วนที่เหลือจากการย่อยสลายไปทำเป็นปุ๋ย

16 กันยายน
เป็นวันโอโซนโลก (ใครรู้บ้างเนี่ยะ) สหประชาชาติได้ประกาศให้วันที่ 16 กันยาของทุกปีเป็นวันโอโซนโลกตั้งแต่ปี 2538 เพื่อให้ทุกประเทศปฏิบัติตามอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ลดการใช้สารซีเอฟซีและเฮลอน
credit : bonjourajarnton

09 กุมภาพันธ์ 2551

Le Carnaval

Tous les ans, le carnaval revient pour notre plus grand bonheur. Défilés, déguisements, chars, crêpes et beignets. C'est autour du Mardi Gras qu'il y a le plus de festivités : les gens sortent dans les rues pour chanter et danser et surtout, pour déguster plein de bonnes choses sucrées. Pour tout savoir sur le carnaval, voici plein d'infos et plein d'activités pour se mettre dans l'ambiance.
Vocab
carnaval = งานเฉลิมฉลองของมวลชน
défilé = การดำเนินการ
déguisement = ปลอมตัว
char = รถถัง
autour = ใกล้ๆ
déguster = ประสบการณ์ (ครั้งแรกกับบางสิ่ง)
ambiance = สภาพแวดล้อม
credit : momes

01 กุมภาพันธ์ 2551

La chandeleur

Le 2 février, c’est la Chandeleur, appelée aussi la Fête des Chandelles. Tous les ans, la tradition veut que l’on cuisine plein de délicieuses crêpes à déguster avec famille et copains. Mais d’où vient cette bonne tradition ? Pour le découvrir, voici plein d’infos dans notre mini-dossier spécial. Et n’oublie pas de faire sauter tes galettes !
Vocab
Chandeleur = พิธีฉลองของชาวคริสต์ตรงกับวันที่ 2 กุมภาพันธ์ (จัดเพื่อระลึกพระแม่มารีและพระบุตรคือพระเยซู
tradition = ประเพณี
délicieuses = สนุกสนาน,อร่อย
déguster = รสนิยม,ประสบการณ์
découvrir = ค้นพบ
sauter = การขึ้นราคาพรวดพราด
galettes = ขนมอบกรอบบาง รสหวานมักกินกับไอศกรีม
credit : momes